เว็บบล็อกบันทึกผลการเรียนรู้วิชา Graphic design for packaging ของ นาย สุขวิทย์ เพิ่มทวี
วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
Individual Design
การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัฑณ์
โครงการวิจัย ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชาสมุนไพรรางแดง จังหวัดนนทบุรี ชื่อยี่ห้อ ไทยยอดชา
ส.1 สืบค้น (Research)
ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary Research)
สมุนไพรชารางแดง จังหวัดนนทบุรี ปัจจุบันมีผู้นำชารางจืดออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ใบชา หรือถุงชาในแพ็คเกจสวยหรูดูดีหลายราย และยังทำเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรสำเร็จรูป ซึ่งเป็นของกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชน หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ราคาย่อมเยา สามารถชงดื่มได้ทันที หาซื้อได้ทั่วไป เพราะเป็นผลิตภัณฑ์ของไทยเป็นสมุนไพรที่มามานานคู่กับกับคนไทยแต่ยังไม่แพร่หลายนักจึงอยากพัฒนาของดีให้คนไทยได้เห็นถึงความสำคัยของต้นรางจืด
ภาพที่ 1 ภาพใบรางจืดอบแห้ง
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 2 ภาพใบรางจืดอบแห้งแปรรูป
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 3 ภาพซองชาขนาด 5.3 X 7.3
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสินสินค้า
ขนาดบรรจุภัฑณ์ 9.5408 x 15.5525 CM
ผลิตโดย นาย สุขวิทย์ เพิ่มทวี รหัสนักศึกษา 5421301135
(แขนงออกแบบนิเทศศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ราคาส่ง 8/ซอง ราคาปลีก 10/ซองข้อมูลสินค้า
ชื่อสินค้า: สมุนไพรชารางเเดง ไทยยอดชา
ประเภท: สมุนไพร เครื่องดื่ม
สถานะผลิตภัฑณ์: ใบชา / อบเเห้ง
ส่วนผสม: ใบรางแดง 100%
วิธีใช้: ต้มในน้ำเดือด 95 องศาพร้อมดื่ม
การวิเคาระห์ข้อมูลส่วนประกอบของสินค้าเเละบรรจุภัฑณ์
1 ใช้ใบรางจืดเเท้ๆ จากนั้นตากเเดดให้เเห้ง 2-3 วัน
2 ใช้มีดหั่นใบรางจืดให้เอียด
3 บรรจุใบรางจืดลงถุงชา
4 ถุงกระดาษ ชาขนาดความกว้าง-ยาว 5.3 X 7.3 CM
สรรพคุณของรางจืด
รากและเถาของรางจืด สามารถใช้รับประทานเป็นยาแก้ร้อนใน (ราก,เถา)
รางจืด สรรพคุณช่วยแก้อาการกระหายน้ำ (ราก,เถา)
สรรพคุณรางจืด ใบและรากของรางจืด สรรพคุณใช้เป็นปรุงเป็นยาถอนพิษไข้ได้ (ใบ,ราก)
ส.2 สร้างสรรค์ตามสมติฐาน Resume
ขั้นตอนการสร้างสรรค์ตามสมติฐาน
จากที่ได้ศึกษาจากรณีศึกษาเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาบรรจุภัฑณ์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชาสมุนไพรรางแดง จังหวัดนนทบุรีจึงได้ข้อสรุปว่า ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมที่พัฒนาในครั้งนี้ควรมีลักษณะของความเป็นไทยมีสีสีนที่เรียบง่าย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มบุคคลทั่วไป วัยรุ่น และผู้สูงอายุ
ภาพที่ 4 แบบโลโก้ไทยยอดชา
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 5 Skecthdesign 1
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 6 ภาพด้านหน้าบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชา
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 7 Skecthdesign 2
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 8 ภาพด้านข้างบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชา
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 9 Skecthdesign 3
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 10 ภาพบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชาชั้น 1 ด้านหน้า
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 11 ภาพบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชาชั้น 1 ด้านหลัง
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 12 ภาพบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชาแพทเทิร์นดีไซน์ 1
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 13 ภาพบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชาแพทเทิร์นดีไซน์ 2
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 14 ภาพบรรจุภัฑณ์ไทยยอดชาแพทเทิร์นดีไซน์ 3
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ส.3 สรุปผลงาน
สรุปผลงานการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ไทยยอดชา
เมือทำการออกแบบพัฒนาผลิตภัฑณ์และบรรจุภัฑณ์เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการทดลองผลิตและบรรจุผลิตภัฑณ์ลงตามความเหมาะสมและการติดฉลากสินค้านั้นๆ
ภาพที่ 15 ภาพเเสดง MoonBordส.3 การเสนอผลงานการออกแบบไทยอดชา 1
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 16 ภาพเเสดง MoonBordส.3 การเสนอผลงานการออกแบบไทยอดชา 2
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 17 ภาพเเสดง sketchupdesign 1
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 18 ภาพเเสดง sketchupdesign 2
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 19 ภาพเเสดง sketchupdesign 3
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 20 ภาพเเสดง sketchupdesign 4
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 21 ภาพเเสดง sketchupdesign 5
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 22 ภาพเเสดง sketchupdesign 6
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 23 ภาพเเสดง sketchupdesign 7
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 24 ภาพเเสดง sketchupdesign 8
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 25 ภาพเเสดง sketchupdesign 9
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
ภาพที่ 26 ภาพเเสดง sketchupdesign 10
( ที่มา : สุขวิทย์ เพิ่มทวี 2558 )
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)